กลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายและกลุ่มอุตสาหกรรมห้ามตั้ง

กลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย

        สำหรับกิจการเป้าหมายในปัจจุบันตามนโยบายหลักชองภาครัฐที่จะร่วมกันพัฒนาเป็นเขตเศรษฐกิจการลงทุนพิเศษที่เรียกว่ "ระเบียงเศรษฐกิจภาคตะวันออก (Eastem Economic Coridor : EEO) ซึ่งจากมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2558 เห็นซอบในหลักการสำหรับ
ข้อเสนอของกระทรวงอุตสาหกรรม " 10 อุตสาหกรรมเป้าหมาย : กลไกขับเคลื่อนเศรษฐกิจเพื่ออนาคต " โดยเป็นอุตสาหกรรมที่มีศักยภาพ
ที่จะเป็นปัจจัยในการชับเคลื่อนเศรษฐกิจในอนาคต 
(New Growth Engine) ของประเทศ และเป็นอุตสาหกรรมที่เป็นที่สนใจของนักลงทุนทั่วประเทศ

        พระราชบัญญัติขตพัฒนาพิศษภาคตะวันออก พ.ศ. 2561 กำหนดอุตสาหกรรมเป้าหมายพิเศษที่มีศักยภาฬที่จะเป็นปัจจัยในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจในอนาคต (New Growth Engine) ของประเทศและเป็นอุตสาหกรรมที่เป็นที่สนใจของนักลงทุนทั่วประเทศ ซึ่งเป็น 2 กลุ่มหลัก ดังนี้

        1) การต่อยอดอุตสาหกรรมเดิมที่มีศักยภาพ (First S-curve) ประกอบด้วย อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ (Next-Generaticn Automotive) อุตสาหกรรมอิเลคทรอนิกส์อัจฉริยะ (Smart Electronic) อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวรายได้ดีและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ (Afluent, Medical and WellnessTourism) อุตสาหกรรมการเกษตรและเทคโนโลยีขีวภาพ (Agriculture and Biotechnology) และอุตสาหกรรมแปรรูปอาหาร (Food for the Future)

        2) การเพิ่มเติมอุตสาหกรรมอนาศต (New Scurve) ประกอบด้วย อุตสาหกรรมหุ่นยนต์ (Robotics) อุตสาหกรรมการบินและโลจิสติกส์ (Avation and Logistics) อุดสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเศมีชีวภาพ (Biofuels and Biochemical) อุตสาหกรรมดิจิทัส (Digital) และอุตสาหกรรมการแพทย์ศรบวงจร (Medical Hub) 

        ทั้งนี้ พระราขบัญญัติเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก พ.ศ. 2561 ใด้กำหนดอุตสาหกรรมเป้าหมายพิเศษดังต่อไปนี้

        1) ยานยนต์สมัยใหม่

        2) อิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ

        3) การท่องเที่ยงกลุ่มรายได้ดีและการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ

        4) การเกาตรและเทคโนโลยีชีวภาพ

        5) การแปรรูปอาหาร

        6) หุ่นยนต์

        7) การบินและโลจิสติกส์

        8) เชื้อเพลิงขีวภาพและเคมีชีวภาพ

        9) ดิจิทัล

        10) การแพทย์และสุขภาพ

        ดังนั้น จึงกำหนดกลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมายของโครงการได้ ดังนี้       

        1) อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร (Medical Hub) กิจการในอุดสาหกรรมกลุ่มนี้ ได้แก่ การบริการทางการแพทย์ การแพทย์ทางไกล
ผ่าน ICT เพื่อการติดตาม ปรึกษา วินิจฉัยและรักษา การผลิตจิ้นส่วนอุปกรณ์และเครื่องมือแพทย์ ผลิตภัณฑ์สำหรับผู้สูงอายุ การผลิตยาประเภท
ยาชีววัตถุตันแบบ (Biologic) คือ ยา หรือ ผลิตภัณฑ์ทางการแพทย์ที่ผลิตจากสิ่งมีชีวิต หรือจากชิ้นส่วนของสิ่งมีชีวิตที่ไม่รวมถึงพืช เช่น
ผลิตจากส่วนประกอบต่าง ๆ (เช่น เลือด เขลล์เนื้อเยื่อ) ที่ได้มาจาก คน สัตว์ จุลชีพ ยาชีววัตถุคล้ายคลึง (Biosinilar) คือ ยาชีววัตถุที่มีลักษณะคล้ายคลีงกันในแง่คุณภาพความปลอดภัยและประสิทธิภาพ เมื่อเปรียบเทียบกับยาชีววัตถุอ้างอิงที่ได้รับการขึ้นทะเบียนแล้วอย่างเต็มรูปแบบ และการผลิตยาสมุนไพร

        2) อุดสาหกรรมวิจัยและพัฒนา (Research & Development) กิจการในอุตสาหกรรมกลุ่มนี้ ต้แก่ การวิจัยและพัฒนาทางค้านการแพทย์ ศูนย์วิจัยคิดคัน และพัฒนาทางด้านการแพทย์ เป็นต้น

        3) อุตสาหกรรมการบินและอวกาศ (Aviation and Aerospace) กิจการในอุตสาหกรรมกลุ่มนี้ ได้แก่ การบริการและซ่อมชื้นส่วนบำรุงอากาศยาน (Maintenance, Repair and Overhaul : MRO) อุสาหกรรมผลิตขึ้นส่วนอากาศยาน ธุรกิจมูลค่าสูงที่ต้องการความเร็วจาก
การขนส่งทางอากาศ (Time Sensitive Product) อากาศยานไร้ตนขับ (Drone) การผลิตชิ้นส่วนอากาศยาน ระบบนำทางและขอฟแวร์ต่างๆ สถาบันการศึกษาและอบรมต้านการบิน เป็นต้น และวิศวกรรมการบินและอวกาศ (Aerospace engineering) ที่เกี่ยวกับการวิจัย การออกแบบ การพัฒนา การสร้าง การทดสอบทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของอากาศยานและอวกาศยาน

        4) อุตสาหกรรมขนส่งและบริการ (Logistics) กิจการในอุตสาหกรรมกลุ่มนี้ ได้แก่ การขนส่งและการบริการเพื่อการขนส่ง ศูนย์รวมกิจการ โลจิสติกส์ที่ทันสมัย

        5) อุตสาหกรรมอุปกรณ์อัจฉริยะ หุ่นยนต์และจักรกล (Robotics) กิจการในอุตสาหกรรมกลุ่มนี้ ได้แก่ หุ่นยนต์ที่ใช้ในอุตสาหกรรมต่างๆ เช่น อุตสาหกรรมยานยนต์ กระบวนการฉีดพลาสติก อุตสาหกรรมอิเล็กทรอนิกส์ หุ่นยนต์ดำนการแพทย์ เป็นต้น

        6) อุตสาหกรรมดิจิทัลเทคโนโลยีอินเตอร์เนต เชื่อมต่อปัญญาประติษฐ์ (Digital) กิจการในอุตสาหกรรมกลุ่มนี้ ได้แก่ ซอฟท์แวร์ที่ฝังตัวอยู่ในระบบหรืออุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์บางประเภท (Embedded Software) ซอฟแวร์ช่วยในการบริหารจัดการทั่วไป (Enterprise Software) สารสนเทศที่มีรูปแบบดิจิทัล (Digital Content) ธุรกรรมอิเล็กทรอนิกส์ (E-commerce) การวิเคราะห์ข้อมูลของผู้บริโภค (Consumer insight Analytics and Data Center) การบริการที่ครอบคลุมถึง
การให้ใช้กำลังประมวลผล หน่วยจัดเก็บข้อมูล และระบบออนไลน์ต่างๆ จากผู้ให้บริการ (Cloud Computing) ระบบความปลอดภัยในโลกไซเบอร์ (Cyber Security) ระบบที่ประกอบไปด้วยอุปกรณ์ที่สามารถสื่อสารและเชื่อมต่อกันได้ผ่านวิธีการสื่อสารทั้งแบบใช้สายและไร้สาย (Internet of Thing) ซึ่งเป็นรูปแบบการประยุกส์เทคโนโลยีดิจิทัล หรือข้อมูลสารสนเทศและการสื่อสารในการเพิ่มประสิทธิภาพและคุณภาพของการบริการชุมขน (Smart City) และสื่อและอนิเมชั่นสร้างสรรค์ (Creative Media andAnimation)

        7) กลุ่มอุตสาหกรรมผลิตแบตเตอรี่และทำหม้อเก็บพลังงานไฟฟ้าขนิดแห้ง กิจการในกลุ่มนี้ ได้แก่ กิจการผลิตแบตเตอรี่แห้ง กิจการผลิตสายชาร์จแบตเตอรี่ พร้อมเต้ารับ-เต้าเสียบ และกิจการทำหม้อเก็บพลังงานไฟฟ้าหรือหม้อกำเนิดไฟฟ้า
ชนิดแท้ง รวมถึงขึ้นส่วนของผลิตภัณฑ์ตังกล่าวที่ไม่มีขึ้นส่วนผลิตจากตะกั่ว และดีบุก เป็นต้น

Banner Border